รูปแบบบรรณานุกรม
ที่มา : http://www.lib.nu.ac.th/nulibnet/index.php?topic=178.0
JITTARAT YEANSUK
วันจันทร์ที่ 21 เมษายน พ.ศ. 2557
สรุปวันที่ 22 เมษายน 2556 (เวลา 13.00-18.00 น.) อ.ดร.เจนศึก โพธิศาสตร์
เป็นการนำเสนอโครงงานของแต่ละกลุ่ม
สรุป วันที่ 22 เมษายน 2557 (เวลา 08.00-12.00 น.) ผศ.ประเสริฐ แซ่เอี๊ยบ
เป็นการนำเสนอบทเรียนโปรแกรมแบบง่าย IPPT (Interactive PowerPoint) ในแต่ละกลุ่ม โดยมีการนำเสนอในรายละเอียดในเรื่องดังต่อไปนี้
- วิชาสังคมศึกษา ASEAN
- ประเภทเครื่องดนตรีไทย
- ตัวฉันกับเวลา
- การใช้ห้องสมุด
- มาตราตัวสะกด วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ซึ่งมีขั้นตอนในการทำดังต่อไปนี้
- ชื่อบทเรียน
- คำแนะนำ
- วัตถุประสงค์
- เนื้อหา 1
- แบบฝึกหัด 1
- เนื้อหา 2
- แบบฝึกหัด 2
- เนื้อหา 3
- แบบฝึกหัด 3
- สรุป
- คณะผู้จัดทำ
**ทำการประเมินของแต่ละกลุ่มแบบรูบิกสกอร์
- ทำแบบทดสอบ
- วิชาสังคมศึกษา ASEAN
- ประเภทเครื่องดนตรีไทย
- ตัวฉันกับเวลา
- การใช้ห้องสมุด
- มาตราตัวสะกด วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
ซึ่งมีขั้นตอนในการทำดังต่อไปนี้
- ชื่อบทเรียน
- คำแนะนำ
- วัตถุประสงค์
- เนื้อหา 1
- แบบฝึกหัด 1
- เนื้อหา 2
- แบบฝึกหัด 2
- เนื้อหา 3
- แบบฝึกหัด 3
- สรุป
- คณะผู้จัดทำ
**ทำการประเมินของแต่ละกลุ่มแบบรูบิกสกอร์
- ทำแบบทดสอบ
สรุปวันที่ 21 เมษายน 2557 ผศ.ประเสริฐ แซ่เอี๊ยบ
เครือข่ายการเรียนรู้
- สื่อประเภทเครื่องฉาย ได้แก่ เครื่องฉายภาพ (มีหลอด มีแสงสว่าง) เช่น โทรทัศน์ โปรเจ็คเตอร์ เป็นต้น
- สื่อประเภทไม่ใช้เครื่องฉาย เช่น สมุด กระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ วัตถุ 3 มิติ
- สื่อประเภทเครื่องเสียง คือ พูดโดยใช้เสียงออกมา เช่น เคาะเป็นจังหวะ โดยใช้หูในการเรียนรู้
การจำแนกสื่อการสอน ของเอดการ์ เดล
1. วัจนภาษา เป็นสื่อที่แย่ที่สุดเพราะภาษาต้องมีการตีความ เช่น ภาษาตามภาคต่างๆ เป็นต้น
2. ทัศนสัญลักษณ์ เป็นการดูด้วยสัญลักษณ์ เช่น ไฟจราจร ตัวหนังสือ เป็นต้น
3. การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
4. ภาพยนต์ ด้อยกว่าโทรทัศน์เพราะมีเนื้อหาความรู้น้อยมาก
5. โทรทัศน์
6. นิทรรศการ
7. การศึกษานอกสถานที่
8. การสาธิต
9. ประสบการณ์นาฏกรรม
10. ประสบการณ์รอง
11. ประสบการณ์ตรง
สื่อแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. สื่อประเภทวัสดุ แบ่งออกเป็น
1.1 ถ่ายทอดความรู้ด้วยตนเอง
1.2 ถ่ายทอดความรู้ด้วยอุปกรณ์ช่วย
2. สื่อประเภทอุปกรณ์
3. สื่อประเภทเทคนิควิธีการ
หลักการเลือกสื่อการสอน
1. ต้องสัมพันธ์กับเนื้อหา บทเรียน และจุดมุ่งหมายที่จะสอน
2. เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็นสื่อที่ให้ผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาได้ดีเป็นลำดับขั้นตอน
3. สื่อเหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
4. สื่อนั้นควรสะดวกในการใช้ มีวิธีไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป
บทเรียนโปรแกรมคือต้นกำเนิดของ CAI
การเลือกสื่อการสอนให้สัมพันธ์กับขนาดและกิจกรรมผู้เรียน
1. พิจารณาถึงขนาดกลุ่มผู้เรียน
- รายบุคคล
- กลุ่มย่อย
- กลุ่มใหญ่
2. ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ต้องการนั้นเป็นอย่างไร เช่น การฟัง การกระทำ การศึกษา เป็นต้น
3. ลักษณะของสื่อการสอนที่ต้องการนั้นคืออะไร
การวางแผนอย่างเป็นระบบในการใช้สื่อการสอน (ASSURE)
A=Analyze Learner Characteristics การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน
S=State Objectives กำหนดวัตถุประสงค์ แบ่งออกเป็น ทั่วไป และพฤติกรรม
S=Select, Modify, or Design Materials การเลือก ดัดแปลง หรือออกแบบสื่อใหม่
U=Utillize Materials การใช้สื่อ
R=Require Learner Response การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน
E=Evaluation การประเมิน
บทเรียนโปรแกรมจะต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างกระฉับกระเฉง
2. ให้ผลย้อนกลับทันที คือ เด็กตอบถูกต้องเฉลยทันที อย่าเก็บไว้ ถ้าเด็กตอบผิดก็ต้องบอกว่าผิดอย่างไร ให้กลับไปแก้ไขใหม่
3. ประเมินทีละน้อยๆ คือ การเรียนไปทำแบบฝึกหัดไปจะรับรู้ได้ดีกว่า
4. ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์แห่งความสำเร็จ
- สื่อประเภทเครื่องฉาย ได้แก่ เครื่องฉายภาพ (มีหลอด มีแสงสว่าง) เช่น โทรทัศน์ โปรเจ็คเตอร์ เป็นต้น
- สื่อประเภทไม่ใช้เครื่องฉาย เช่น สมุด กระดาษ ปากกา ดินสอ ยางลบ วัตถุ 3 มิติ
- สื่อประเภทเครื่องเสียง คือ พูดโดยใช้เสียงออกมา เช่น เคาะเป็นจังหวะ โดยใช้หูในการเรียนรู้
การจำแนกสื่อการสอน ของเอดการ์ เดล
1. วัจนภาษา เป็นสื่อที่แย่ที่สุดเพราะภาษาต้องมีการตีความ เช่น ภาษาตามภาคต่างๆ เป็นต้น
2. ทัศนสัญลักษณ์ เป็นการดูด้วยสัญลักษณ์ เช่น ไฟจราจร ตัวหนังสือ เป็นต้น
3. การบันทึกเสียง วิทยุ ภาพนิ่ง
4. ภาพยนต์ ด้อยกว่าโทรทัศน์เพราะมีเนื้อหาความรู้น้อยมาก
5. โทรทัศน์
6. นิทรรศการ
7. การศึกษานอกสถานที่
8. การสาธิต
9. ประสบการณ์นาฏกรรม
10. ประสบการณ์รอง
11. ประสบการณ์ตรง
สื่อแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่
1. สื่อประเภทวัสดุ แบ่งออกเป็น
1.1 ถ่ายทอดความรู้ด้วยตนเอง
1.2 ถ่ายทอดความรู้ด้วยอุปกรณ์ช่วย
2. สื่อประเภทอุปกรณ์
3. สื่อประเภทเทคนิควิธีการ
หลักการเลือกสื่อการสอน
1. ต้องสัมพันธ์กับเนื้อหา บทเรียน และจุดมุ่งหมายที่จะสอน
2. เลือกสื่อที่มีเนื้อหาถูกต้อง ทันสมัย น่าสนใจ และเป็นสื่อที่ให้ผลต่อการเรียนการสอนมากที่สุด ช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจเนื้อหาได้ดีเป็นลำดับขั้นตอน
3. สื่อเหมาะสมกับวัย ระดับชั้น ความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
4. สื่อนั้นควรสะดวกในการใช้ มีวิธีไม่ซับซ้อนยุ่งยากจนเกินไป
บทเรียนโปรแกรมคือต้นกำเนิดของ CAI
การเลือกสื่อการสอนให้สัมพันธ์กับขนาดและกิจกรรมผู้เรียน
1. พิจารณาถึงขนาดกลุ่มผู้เรียน
- รายบุคคล
- กลุ่มย่อย
- กลุ่มใหญ่
2. ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ต้องการนั้นเป็นอย่างไร เช่น การฟัง การกระทำ การศึกษา เป็นต้น
3. ลักษณะของสื่อการสอนที่ต้องการนั้นคืออะไร
การวางแผนอย่างเป็นระบบในการใช้สื่อการสอน (ASSURE)
A=Analyze Learner Characteristics การวิเคราะห์ลักษณะผู้เรียน
S=State Objectives กำหนดวัตถุประสงค์ แบ่งออกเป็น ทั่วไป และพฤติกรรม
S=Select, Modify, or Design Materials การเลือก ดัดแปลง หรือออกแบบสื่อใหม่
U=Utillize Materials การใช้สื่อ
R=Require Learner Response การกำหนดการตอบสนองของผู้เรียน
E=Evaluation การประเมิน
บทเรียนโปรแกรมจะต้องมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
1. ให้นักเรียนมีส่วนร่วมอย่างกระฉับกระเฉง
2. ให้ผลย้อนกลับทันที คือ เด็กตอบถูกต้องเฉลยทันที อย่าเก็บไว้ ถ้าเด็กตอบผิดก็ต้องบอกว่าผิดอย่างไร ให้กลับไปแก้ไขใหม่
3. ประเมินทีละน้อยๆ คือ การเรียนไปทำแบบฝึกหัดไปจะรับรู้ได้ดีกว่า
4. ให้นักเรียนได้รับประสบการณ์แห่งความสำเร็จ
สรุป 20 เมษายน 2557 เวลา 13.00-18.00 น. ผศ.ประเสริฐ แซ่เอี๊ยบ
หลักการและกระบวนการออกแบบนวัตกรรมเพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้
นวัตกรรม เป็นการกระทำใหม่ๆ อย่างมีตัวตน (ตัวตนเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้)
คำถาม
1. นวัตกรรมเกิดมาจากสาเหตุใดได้บ้าง
- การแก้ปัญหา
- ความรู้ใหม่/ความเปลี่ยนแปลง
- อำนวยความสะดวก
- คิดค้นสิ่งใหม่
- เพื่อประสิทธิภาพ
2. บุคคลหรือกลุ่มคนใดที่ทำให้เกิดนวัตกรรม
- นวัตกร (Innovators) คือ อาชีพที่ลงท้ายด้วย กร เช่น วิศวกร จิตกร เป็นต้น
- ผู้นำ (Leaders)
- ผู้ต่อต้าน (Resistors)
3. นวัตกรรมสิ้นสภาพได้หรือไม่ อย่างไร
- สามารถสิ้นสภาพได้ ซึ่งถ้านวัตกรรมเป็นที่ยอมรับจะเกิดเทคโนโลยีเกิดขึ้น แต่ถ้านวัตกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับจะล้าสมัยและหมดความนิยมหรือสิ้นสภาพลงในที่สุด
ครูในยุค ICT จะต้องรู้ข้อมูลดังต่อไปนี้ (เป็นข้อมูลที่ยูเนสโก้ กรุงเทพฯ ข้อมูลประมาณเดือนธันวาคม 2556)
- ประชากรในประเทศไทย 65 ล้านคน (แนวโน้มลดลง)
- โทรศัพท์พื้นฐาน (โทรศัพท์บ้าน) 7 ล้านเครื่อง (คนไทยส่วนใหญ่ใช้ลดลง)
- ใช้อินเทอร์เน็ต 25 ล้านคน (เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด)
อุปกรณ์สื่อสารที่นักเรียนใช้ (เป็นข้อมูลที่ยูเนสโก้ กรุงเทพฯ ข้อมูลประมาณเดือนธันวาคม 2556)
- โทรศัพท์มือถือ 76% (แนวโน้มมากขึ้น)
- คอมพิวเตอร์รวมถึงtablet 61% (แนวโน้มมากขึ้น)
- เครื่องฟังเพลงแบบพกพา 31% (มีแนวโน้มลดลง)
สิ่งที่ครูยุค ICT ต้องเจอ
- google เป็น serch engine ใช้โปรแกรมแองกอริทึ่ม โดยพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการค้นคว้า ซึ่งส่วนใหญ่จะหาได้ค่อนข้างครอบคลุม
- soial network เครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น facebook twitter line (line ญี่ปุ่นใช้เป็นอันดับ 1 ของโลกเนื่องจากญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตและคิดค้น ส่วนประเทศไทยใช้เป็นอันดับ 2 ของโลก)
- entertrainment multimedia เช่น YOUTUBE iptv
- e-learning
- mobile technology
- Technology for life เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถต่อกับ internet ได้
ทักษะที่ครูยุค ICT จะต้องมี
- ทักษะการสืบค้นข้อมูล
- การวิเคราะข้อมูล ข่าวสาร
- ทักษะการออกแบบ, ผลิต, ประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศ สื่อการสอน
การเกิดนวัตกรรม
- มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่
- มีการพัฒนาปรับปรุง
- มีการนำไปใช้ปฏิบัติในสถานที่จริง
การนำนวัตกรรมมาใช้จะเกิดผลดังนี้
- ความมีประสิทธิภาพ
- เกิดประสิทธิผล
- เกิดความประหยัด เช่น ประหยัดเวลา ประหยัดเงิน หรือประหยัดทรัพยากร เป็นต้น
ความแตกต่างระหว่างบุคคลมี 4 ด้าน
1. ด้านร่างกาย
2. ด้านสติปัญญา
3. ด้านอารมณ์
4. ด้านสังคม
ซึ่งนวัตกรรมต้องไปช่วยหรือไปเสริมความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
กฎแห่งความพร้อม
1. พร้อม à ได้เรียน à พอใจ à การเรียนรู้
2. ไม่พร้อม à ได้เรียน à ไม่พอใจ à ไม่เรียนรู้
3. พร้อม à ไม่ได้เรียน à ไม่พอใจ à ไม่เรียนรู้
4. ไม่พร้อม à ไม่ได้เรียน à พอใจ à ไม่เรียนรู้
การยอมรับนวัตกรรม มีขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นรับรู้ (Awareness)
2. ขั้นสนใจ (Interest)
3. ขั้นประเมินค่า (Evaluation)
4. ขั้นทดลอง (Trial)
5. ขั้นยอมรับ (Adoption)
6. ขั้นบูรณาการ (Integration)
นวัตกรรม เป็นการกระทำใหม่ๆ อย่างมีตัวตน (ตัวตนเป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้)
คำถาม
1. นวัตกรรมเกิดมาจากสาเหตุใดได้บ้าง
- การแก้ปัญหา
- ความรู้ใหม่/ความเปลี่ยนแปลง
- อำนวยความสะดวก
- คิดค้นสิ่งใหม่
- เพื่อประสิทธิภาพ
2. บุคคลหรือกลุ่มคนใดที่ทำให้เกิดนวัตกรรม
- นวัตกร (Innovators) คือ อาชีพที่ลงท้ายด้วย กร เช่น วิศวกร จิตกร เป็นต้น
- ผู้นำ (Leaders)
- ผู้ต่อต้าน (Resistors)
3. นวัตกรรมสิ้นสภาพได้หรือไม่ อย่างไร
- สามารถสิ้นสภาพได้ ซึ่งถ้านวัตกรรมเป็นที่ยอมรับจะเกิดเทคโนโลยีเกิดขึ้น แต่ถ้านวัตกรรมที่ไม่เป็นที่ยอมรับจะล้าสมัยและหมดความนิยมหรือสิ้นสภาพลงในที่สุด
ครูในยุค ICT จะต้องรู้ข้อมูลดังต่อไปนี้ (เป็นข้อมูลที่ยูเนสโก้ กรุงเทพฯ ข้อมูลประมาณเดือนธันวาคม 2556)
- ประชากรในประเทศไทย 65 ล้านคน (แนวโน้มลดลง)
- โทรศัพท์พื้นฐาน (โทรศัพท์บ้าน) 7 ล้านเครื่อง (คนไทยส่วนใหญ่ใช้ลดลง)
- ใช้อินเทอร์เน็ต 25 ล้านคน (เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดด)
อุปกรณ์สื่อสารที่นักเรียนใช้ (เป็นข้อมูลที่ยูเนสโก้ กรุงเทพฯ ข้อมูลประมาณเดือนธันวาคม 2556)
- โทรศัพท์มือถือ 76% (แนวโน้มมากขึ้น)
- คอมพิวเตอร์รวมถึงtablet 61% (แนวโน้มมากขึ้น)
- เครื่องฟังเพลงแบบพกพา 31% (มีแนวโน้มลดลง)
สิ่งที่ครูยุค ICT ต้องเจอ
- google เป็น serch engine ใช้โปรแกรมแองกอริทึ่ม โดยพิมพ์ข้อมูลที่ต้องการค้นคว้า ซึ่งส่วนใหญ่จะหาได้ค่อนข้างครอบคลุม
- soial network เครือข่ายสังคมออนไลน์ เช่น facebook twitter line (line ญี่ปุ่นใช้เป็นอันดับ 1 ของโลกเนื่องจากญี่ปุ่นเป็นผู้ผลิตและคิดค้น ส่วนประเทศไทยใช้เป็นอันดับ 2 ของโลก)
- entertrainment multimedia เช่น YOUTUBE iptv
- e-learning
- mobile technology
- Technology for life เช่น เครื่องใช้ไฟฟ้าที่สามารถต่อกับ internet ได้
ทักษะที่ครูยุค ICT จะต้องมี
- ทักษะการสืบค้นข้อมูล
- การวิเคราะข้อมูล ข่าวสาร
- ทักษะการออกแบบ, ผลิต, ประยุกต์ใช้ข้อมูลสารสนเทศ สื่อการสอน
การเกิดนวัตกรรม
- มีการประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่
- มีการพัฒนาปรับปรุง
- มีการนำไปใช้ปฏิบัติในสถานที่จริง
การนำนวัตกรรมมาใช้จะเกิดผลดังนี้
- ความมีประสิทธิภาพ
- เกิดประสิทธิผล
- เกิดความประหยัด เช่น ประหยัดเวลา ประหยัดเงิน หรือประหยัดทรัพยากร เป็นต้น
ความแตกต่างระหว่างบุคคลมี 4 ด้าน
1. ด้านร่างกาย
2. ด้านสติปัญญา
3. ด้านอารมณ์
4. ด้านสังคม
ซึ่งนวัตกรรมต้องไปช่วยหรือไปเสริมความแตกต่างระหว่างบุคคลได้
กฎแห่งความพร้อม
1. พร้อม à ได้เรียน à พอใจ à การเรียนรู้
2. ไม่พร้อม à ได้เรียน à ไม่พอใจ à ไม่เรียนรู้
3. พร้อม à ไม่ได้เรียน à ไม่พอใจ à ไม่เรียนรู้
4. ไม่พร้อม à ไม่ได้เรียน à พอใจ à ไม่เรียนรู้
การยอมรับนวัตกรรม มีขั้นตอน ดังนี้
1. ขั้นรับรู้ (Awareness)
2. ขั้นสนใจ (Interest)
3. ขั้นประเมินค่า (Evaluation)
4. ขั้นทดลอง (Trial)
5. ขั้นยอมรับ (Adoption)
6. ขั้นบูรณาการ (Integration)
วันเสาร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2557
แบบทดสอบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (ช่วงเช้า เวลา 09.00-12.00 น. 20 เมษายน 2557) ว่าที่ร้อยตรีดร.ชัชญาภา วัฒนธรรม
แบบทดสอบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
หลักการในการเขียนแผนผังมโนทัศน์ มีดังนี้
1. เขียนตัวหนังสือเป็นแบบตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีภาษาอังกฤษ หรือ ตัวหนาและเน้นคำกรณีเป็นภาษาไทย สำหรับประเด็นความคิด (Node)
2. ใช้กระดาษแบบไม่มีเส้น (Unlined paper) เพื่อไม่ให้เส้นที่อยู่บนกระดาษมาขีดกรอบความคิด หากเลี่ยงไม่ได้ ก็ให้เส้นบรรทัดอยู่ในแนวตั้ง (Vertical)
3. ใช้กระดาษเปล่าที่ไม่มีการเขียนอะไรมาก่อน
4. เชื่อมคำที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กันด้วยเส้น (Link line) หากมีความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้นก็แตกเส้นเชื่อมออกไปด้านข้างดังในภาพข้างบน
5. เขียนต่อเนื่องไปอย่างรวดเร็วไม่ต้องหยุด ส่งผ่านความคิดให้เกิดความลื่นไหลไปเรื่อยๆ ไม่ต้องหยุดว่าความคิดควรจะอยู่ตรงไหน เขียนลงไปก่อน (เราสามารถเคลื่อนย้ายหรือลากเส้นความสัมพันธ์ได้ทีหลัง)
6. เขียนทุกอย่างลงไปโดยไม่ต้องตีความหรือพยายามหาคำอธิบายใดๆ เพราะกระบวนการจะหยุดชะงักในการคิด
7. หากถึงทางดันของการคิดก็ลองมองไปรวมๆ ทั้งภาพแผนที่มโนทัศน์เพื่อดูว่ายังมีส่วนใดตกค้างหรือหลงเหลือที่ยังไม่ได้เขียนลงไปหรือไม่
8. บางครั้งอาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สี หรือรูปทรง (shape) เพื่อแยกแยะหรือจัดหมวดหมู่ความคิด
สิ่งที่ควรจะปรากฎในแผนผังมโนทัศน์
1. มีการแตกแขนงความคิด (Branches)
2. ลูกศรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแขนงความคิด (Node) Arrow Direction
3. การจัดกลุ่มของความคิด (Grouping ideas) โดยอาจจะขีดเส้นล้อมกรอบกลุ่มความคิด
4. รายละเอียดในรูปแบบของรายการ (List) เพื่อแสดงประกอบแต่ละความคิด (Node List)
5. บางครั้งอาจจะมีคำอธิบายประกอบแขนงความคิด (Node / Branches Note)
1. ในการสร้าง Concept Mapping จะต้องมีการอธิบายความคิดรวบยอดที่ยากให้ชัดเจน และจะต้องมีการเรียงลำดับอย่างเป็นระบบ ดังนั้นในการใช้ Concept Mapping ในการสอนจะช่วยให้ครูมีความเข้าใจในความคิดรวบยอดหลักต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างความคิดรวบยอดเหล่านั้นมากขึ้น จากนั้น Concept Mapping ช่วยให้ครูสามารถอธิบายให้นักเรียนได้เห็นภาพตามนั้นได้อย่างชัดเจนด้วย ซึ่งจะทำให้มีโอกาสน้อยที่จะไม่เข้าใจ หรือตีความความคิดรวบยอดสำคัญผิด
2. การใช้ Concept Mapping จะช่วยเสริมความเข้าใจ และการเรียนรู้ให้กับนักเรียน เพราะสามารถเห็นภาพ ความคิดรวบยอดที่สำคัญ ไปพร้อม ๆ กับสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเหล่านั้น
3. การใช้ Concept Mapping ยังเป็นช่วยครูในการตรวจประเมินกระบวนการสอนด้วย โดยจะทราบจากการที่นักเรียนไม่เข้าใจ หรือตีความความคิดรวบยอดสำคัญอันไหนผิดบ้าง
4. สามารถใช้ การทำ Concept Mapping ในการประเมินความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียนได้
ขั้นตอนในการสร้าง Concept Mapping
1. เลือก ให้ความสนใจกับหัวเรื่องก่อน แล้วจึงหา Key Word หรือ วลี ที่เกี่ยวข้อง
2. จัดลำดับความสำคัญ วางตำแหน่งความคิดรวบยอด หรือ Key Word จากสิ่งที่เป็นนามธรรม และทั่วๆ ไป ที่สุด ไว้ด้านบน แล้ววางสิ่งที่ชี้เฉพาะ และชัดเจนมากขึ้นไล่ลงมาเรื่อย ๆ
3. จัดกลุ่ม จัดกลุ่มความคิดรวบยอดที่อยู่ในระดับเดียวกัน และเกี่ยวข้องกันไว้ด้วยกัน
4. เรียบเรียง จัดความคิดรวบยอดในรูปของแผนภูมิแสดงความคิดที่เป็นระบบ
5. เชื่อมโยงและเพิ่มข้อความ เชื่อมโยงความคิดรวบยอดเข้าด้วยกันโดยใช้เส้น และใช้ข้อความในการบรรยายแต่ละเส้นด้วย สรุปแนวการสอนแบบ Concept Mapping ว่ามีประโยชน์มากสำหรับการเรียนการสอนมักจะเป็นรูปแบบที่เรียงลำดับตามความสำคัญ (Hierarchical organization) ที่วางความคิดรวบยอดทั่วไปและกว้างๆ กว่าอันอื่น ไว้ด้านบน แล้วจึงค่อยวางความคิดรวบยอดที่มีความชัดเจนและชี้เฉพาะมากขึ้น เป็นลำดับลงมาที่ด้านล่าง
แบบทดสอบ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา (5 คะแนน) เริ่มเวลา 09.00-12.00 น. วันที่ 20 เมษายน 2557
ให้ทุกท่านตอบคำถาม "นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ" ที่ให้ไปตามลำดับ โดยให้ศึกษา ค้นคว้า สรุป ด้วยกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ลงในบล็อกของตนเอง พร้อมทั้งทำลิงก์ที่มาของข้อมูลที่สืบค้นหน้าเว็บไซต์นั้นๆ ตามประเด็นดังต่อไปนี้
1. อธิบายความหมาย บอกคุณลักษณะ ประโยชน์ ข้อดี ข้อจำกัด
2. แทรกตัวอย่างรูปภาพ หรือ แทรวิดีโอ ในหัวข้อที่ได้
3. ท่านจะประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน หรือ ชีวิตประจำวัน หรือ ในหน่วยงาน องค์กรได้อย่างไร
4. ระบุข้อเสนอแนะ ติ ชม ทุก ๆ ด้าน จากการอบรมของ ดร.ชัชญาภา วัฒนธรรม (ข้อนี้ไม่มีความสัมพันธ์กับคะแนนข้อที่ 1-3)
ให้ทุกท่านตอบคำถาม "นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ" ที่ให้ไปตามลำดับ โดยให้ศึกษา ค้นคว้า สรุป ด้วยกระบวนการวิเคราะห์ สังเคราะห์ ลงในบล็อกของตนเอง พร้อมทั้งทำลิงก์ที่มาของข้อมูลที่สืบค้นหน้าเว็บไซต์นั้นๆ ตามประเด็นดังต่อไปนี้
1. อธิบายความหมาย บอกคุณลักษณะ ประโยชน์ ข้อดี ข้อจำกัด
2. แทรกตัวอย่างรูปภาพ หรือ แทรวิดีโอ ในหัวข้อที่ได้
3. ท่านจะประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน หรือ ชีวิตประจำวัน หรือ ในหน่วยงาน องค์กรได้อย่างไร
4. ระบุข้อเสนอแนะ ติ ชม ทุก ๆ ด้าน จากการอบรมของ ดร.ชัชญาภา วัฒนธรรม (ข้อนี้ไม่มีความสัมพันธ์กับคะแนนข้อที่ 1-3)
แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ความหมายของแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
แผนผังมโนทัศน์ หมายถึง ความคิดความเข้าใจที่ได้รับมาจากการสังเกต หรือประสบการณ์เกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่ง นำมาจัดประเภทของข้อมูลหรือเหตุการณ์ที่เหมือนหรือแตกต่างกันไว้ในกลุ่มหรือประเภทเดียวกันโดยอาศัยคุณลักษณะร่วมกัน เป็นเกณฑ์ องค์ประกอบของแผนผังมโนทัศน์มี 3 องค์ประกอบ คือ มโนทัศน์หลัก มโนทัศน์รอง มโนทัศน์ย่อย โดยเชื่อมโยงมโนทัศน์ที่มีความสัมพันธ์กันด้วยเส้น
รูปแบบของแผนผังมโนทัศน์มี 5 แบบ ได้แก่
- แบบกระจายออก (Point grouping)
- แบบปลายเปิด (Opened grouping)
- แบบปลายปิด (Closed grouping)
- แบบเชื่อมโยงข้ามจุด (Linked grouping)
- แบบผสม (Mixed grouping)
รูปแบบของแผนผังมโนทัศน์มี 5 แบบ ได้แก่
- แบบกระจายออก (Point grouping)
- แบบปลายเปิด (Opened grouping)
- แบบปลายปิด (Closed grouping)
- แบบเชื่อมโยงข้ามจุด (Linked grouping)
- แบบผสม (Mixed grouping)
กระบวนการ Concept Mapping ประกอบด้วยขั้นตอนย่อย ๆ 6 ขั้นตอน
1. Preparation Step - ขั้นของการเตรียมการ
เป็นขั้นตอนที่ผู้ริเริ่มมีความคิดใหม่ๆ หรือมีโครงการใหม่ๆ ที่ต้องการจะทำการวิเคราะห์ ผู้ริเริ่มนี้จะเป็นผู้รวบรวมสมาชิกภายในกลุ่ม (สอดคล้องกับ ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice - CoP) ของการจัดการความรู้ -KM) จะเป็นจำนวนเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาที่ต้องการจะแก้ไข จากนั้นจะทำตารางนัดหมายไว้คร่าว ๆ หลังจากนั้นจะทำการนัดหมายการประชุมครั้งแรก ขั้นตอนนี้จะเป็นการกล่าวถึงโครงการ หรือความต้องการของโครงการ วัตถุประสงค์คืออะไร ต้องการผลลัพธ์อะไรบ้าง และการทำงานร่วมกันทางความคิดจะเป็นอย่างไร
2. Generation Step ขั้นของการสร้างความคิด
คือการที่ทุกคนในกลุ่มเสนอความคิดเห็นของตนเองออกมา ข้อมูลที่ได้อาจจะมาจากตำรา งานวิจัย หรือแหล่งความรู้ (Sources of Knowledge) ที่หลากหลาย อาทิ ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ หรือบางครั้งอาจจะมาจากผู้เชี่ยวชาญ (Center of Excellence - CoE) ขั้นตอนนี้จะสนใจที่จำนวนของความคิด มากกว่า คุณภาพของความคิด ผู้นำการประชุม หรือ วิทยากรกระบวนการ (Facilitator) จะมีบทบาทที่สำคัญในช่วงเวลานี้เป็นอย่างมากที่จะกระตุ้นให้สมาชิกนำเสนอความคิดเห็น
3. Structure Step - ขั้นการจัดโครงสร้างความคิด
สมาชิกในกลุ่มจะช่วยกันจัดกลุ่มของความคิด (Ideas Grouping) รวมทั้งการจัดลำดับช่วงชั้นของความคิด (Basic Ordering Ideas - BOIs)
4. Representation Step - การวิเคราะห์แผนที่มโนทัศน์
เป็นขั้นตอนที่จะวิเคราะห์คุณภาพของความคิด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Relationship) วิเคราะห์ประเด็นเชื่อมโยง หรือเกี่ยวข้อง รวมทั้งวิเคราะห์ส่วนขาด หรือสิ่งที่ตกหล่น ยังไม่มีใครมอง
5. Interpretation Step - การตีความและแปลความหมาย
เป็นขั้นตอนในการทำความเข้าใจ และแปลผลของแผนที่มโนทัศน์ เป็นขั้นตอนที่จะต้องนำแผนที่มโนทัศน์ออกมาสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจได้โดยง่าย ไม่สำคัญว่าเขียนมันออกมาได้ แต่สำคัญว่า เขียนแล้ว ชาวบ้านอ่านเข้าใจด้วย ซึ่งตัวชาวบ้านเองก็จะต้องฝึกอ่าน แผนที่มโนทัศน์ให้เป็นด้วย
6. Utilization Step การนำไปใช้ประโยชน์
เป็นการนำ Concept Mapping ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน เช่น การนำไปใช้เป็น Strategic Map หรือการนำไปใช้เป็นกรอบแนวคิด (Conceptual framework) ในการดำเนินงานวิจัย หรือวิเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงาน
1. Preparation Step - ขั้นของการเตรียมการ
เป็นขั้นตอนที่ผู้ริเริ่มมีความคิดใหม่ๆ หรือมีโครงการใหม่ๆ ที่ต้องการจะทำการวิเคราะห์ ผู้ริเริ่มนี้จะเป็นผู้รวบรวมสมาชิกภายในกลุ่ม (สอดคล้องกับ ชุมชนนักปฏิบัติ (Community of Practice - CoP) ของการจัดการความรู้ -KM) จะเป็นจำนวนเท่าไรก็ขึ้นอยู่กับลักษณะปัญหาที่ต้องการจะแก้ไข จากนั้นจะทำตารางนัดหมายไว้คร่าว ๆ หลังจากนั้นจะทำการนัดหมายการประชุมครั้งแรก ขั้นตอนนี้จะเป็นการกล่าวถึงโครงการ หรือความต้องการของโครงการ วัตถุประสงค์คืออะไร ต้องการผลลัพธ์อะไรบ้าง และการทำงานร่วมกันทางความคิดจะเป็นอย่างไร
2. Generation Step ขั้นของการสร้างความคิด
คือการที่ทุกคนในกลุ่มเสนอความคิดเห็นของตนเองออกมา ข้อมูลที่ได้อาจจะมาจากตำรา งานวิจัย หรือแหล่งความรู้ (Sources of Knowledge) ที่หลากหลาย อาทิ ห้องสมุด อินเตอร์เน็ต หนังสือ วารสารวิชาการ ฐานข้อมูลความรู้ต่างๆ หรือบางครั้งอาจจะมาจากผู้เชี่ยวชาญ (Center of Excellence - CoE) ขั้นตอนนี้จะสนใจที่จำนวนของความคิด มากกว่า คุณภาพของความคิด ผู้นำการประชุม หรือ วิทยากรกระบวนการ (Facilitator) จะมีบทบาทที่สำคัญในช่วงเวลานี้เป็นอย่างมากที่จะกระตุ้นให้สมาชิกนำเสนอความคิดเห็น
3. Structure Step - ขั้นการจัดโครงสร้างความคิด
สมาชิกในกลุ่มจะช่วยกันจัดกลุ่มของความคิด (Ideas Grouping) รวมทั้งการจัดลำดับช่วงชั้นของความคิด (Basic Ordering Ideas - BOIs)
4. Representation Step - การวิเคราะห์แผนที่มโนทัศน์
เป็นขั้นตอนที่จะวิเคราะห์คุณภาพของความคิด วิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Relationship) วิเคราะห์ประเด็นเชื่อมโยง หรือเกี่ยวข้อง รวมทั้งวิเคราะห์ส่วนขาด หรือสิ่งที่ตกหล่น ยังไม่มีใครมอง
5. Interpretation Step - การตีความและแปลความหมาย
เป็นขั้นตอนในการทำความเข้าใจ และแปลผลของแผนที่มโนทัศน์ เป็นขั้นตอนที่จะต้องนำแผนที่มโนทัศน์ออกมาสื่อสารให้เป็นที่เข้าใจได้โดยง่าย ไม่สำคัญว่าเขียนมันออกมาได้ แต่สำคัญว่า เขียนแล้ว ชาวบ้านอ่านเข้าใจด้วย ซึ่งตัวชาวบ้านเองก็จะต้องฝึกอ่าน แผนที่มโนทัศน์ให้เป็นด้วย
6. Utilization Step การนำไปใช้ประโยชน์
เป็นการนำ Concept Mapping ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงาน เช่น การนำไปใช้เป็น Strategic Map หรือการนำไปใช้เป็นกรอบแนวคิด (Conceptual framework) ในการดำเนินงานวิจัย หรือวิเคราะห์เพื่อ แก้ปัญหาขององค์กรหรือหน่วยงาน
ประโยชน์ของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
เนื่องจากผู้เรียนเกิดการเรียนรู้แผนผังมโนทัศน์ จากการคิด วิเคราะห์และตัวอย่างที่หลากหลาย ดังนั้นผลที่ผู้เรียนจะได้รับโดยตรงคือ จะเกิดความเข้าใจในแผนผังมโนทัศน์นั้น และได้เรียนรู้ทักษะการสร้างมโนทัศน์ซึ่งสามารถนำไปใช้ในการทำความเข้าใจมโนทัศน์อื่น ๆต่อไปได้ รวมทั้งช่วยพัฒนาทักษะการใช้เหตุผลโดยการอุปนัย(inductive reasoning) อีกด้วย
ข้อดีของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ข้อดีที่สำคัญ ของ การใช้ Concept Mapping คือ ทำให้สามารถเห็นภาพความคิดรวบยอด ในรูปแบบที่จับต้องได้ ทำให้สามารถให้ความสำคัญได้ง่ายดาย จึงสะดวกในการนำไปทบทวนทุกครั้งที่ต้องการ นอกจากนี้ในการรวบรวมความคิดรวบยอดต้องใช้ความเข้าใจที่ชัดเจนและแม่นยำทั้งในเรื่องความหมาย และความเชื่อมโยงของความคิดรวบยอดจึงทำให้การเรียนรู้ กลายเป็นกระบวนการที่มีปฏิสัมพันธ์กัน ทั้งนี้ในการนำเสนอความคิดรวบยอดให้แก่นักเรียน ครูไม่ควรให้นักเรียนจำ Concept Mapping ที่เตรียมไว้แล้ว เพราะนั่นก็เป็นเพียงแค่การเรียนแบบท่องจำอีกรูปแบบหนึ่งเท่านั้น ที่ไม่ช่วยให้เกิดการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีความหมายและยั่งยืน
ข้อจำกัดของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
1.ผู้สอนต้องเรียนรู้และทำความเข้าใจรูปแบบ และประโยชน์ของมโนทัศน์ แบบต่างๆ จึงจะสามารถสอนหรือ แนะนำผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ได้ดี
2.ผู้เรียนอาจเกิดความเบื่อหน่าย หรือไม่มีความอดทนต่อบางมโนทัศน์ที่ไม่กระจ่างชัดเจน
2.ผู้เรียนอาจเกิดความเบื่อหน่าย หรือไม่มีความอดทนต่อบางมโนทัศน์ที่ไม่กระจ่างชัดเจน
ภาพตัวอย่างการเขียนแผนผังมโนทัศน์ด้วยมือ
จากนั้นนำแผนผังมโนทัศน์มาเขียนด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ CMapTool ได้ผลงานดังภาพข้างล่างนี้
ภาพตัวอย่างการระดมความคิดเห็นของนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น โครงการบ่มเพาะนักธุรกิจรุ่นใหม่ (KKU - BI) ที่ผู้เขียนไปเป็นวิทยากรกระบวนการ
หลักการในการเขียนแผนผังมโนทัศน์ มีดังนี้
1. เขียนตัวหนังสือเป็นแบบตัวพิมพ์ใหญ่ กรณีภาษาอังกฤษ หรือ ตัวหนาและเน้นคำกรณีเป็นภาษาไทย สำหรับประเด็นความคิด (Node)
2. ใช้กระดาษแบบไม่มีเส้น (Unlined paper) เพื่อไม่ให้เส้นที่อยู่บนกระดาษมาขีดกรอบความคิด หากเลี่ยงไม่ได้ ก็ให้เส้นบรรทัดอยู่ในแนวตั้ง (Vertical)
3. ใช้กระดาษเปล่าที่ไม่มีการเขียนอะไรมาก่อน
4. เชื่อมคำที่เกี่ยวข้องหรือสัมพันธ์กันด้วยเส้น (Link line) หากมีความคิดใหม่ๆ เกิดขึ้นก็แตกเส้นเชื่อมออกไปด้านข้างดังในภาพข้างบน
5. เขียนต่อเนื่องไปอย่างรวดเร็วไม่ต้องหยุด ส่งผ่านความคิดให้เกิดความลื่นไหลไปเรื่อยๆ ไม่ต้องหยุดว่าความคิดควรจะอยู่ตรงไหน เขียนลงไปก่อน (เราสามารถเคลื่อนย้ายหรือลากเส้นความสัมพันธ์ได้ทีหลัง)
6. เขียนทุกอย่างลงไปโดยไม่ต้องตีความหรือพยายามหาคำอธิบายใดๆ เพราะกระบวนการจะหยุดชะงักในการคิด
7. หากถึงทางดันของการคิดก็ลองมองไปรวมๆ ทั้งภาพแผนที่มโนทัศน์เพื่อดูว่ายังมีส่วนใดตกค้างหรือหลงเหลือที่ยังไม่ได้เขียนลงไปหรือไม่
8. บางครั้งอาจมีความจำเป็นที่จะต้องใช้สี หรือรูปทรง (shape) เพื่อแยกแยะหรือจัดหมวดหมู่ความคิด
สิ่งที่ควรจะปรากฎในแผนผังมโนทัศน์
1. มีการแตกแขนงความคิด (Branches)
2. ลูกศรแสดงความสัมพันธ์ระหว่างแขนงความคิด (Node) Arrow Direction
3. การจัดกลุ่มของความคิด (Grouping ideas) โดยอาจจะขีดเส้นล้อมกรอบกลุ่มความคิด
4. รายละเอียดในรูปแบบของรายการ (List) เพื่อแสดงประกอบแต่ละความคิด (Node List)
5. บางครั้งอาจจะมีคำอธิบายประกอบแขนงความคิด (Node / Branches Note)
แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) สามารถนำมาใช้ในกระบวนการเรียนการสอนได้ ดังนี้
1. ในการสร้าง Concept Mapping จะต้องมีการอธิบายความคิดรวบยอดที่ยากให้ชัดเจน และจะต้องมีการเรียงลำดับอย่างเป็นระบบ ดังนั้นในการใช้ Concept Mapping ในการสอนจะช่วยให้ครูมีความเข้าใจในความคิดรวบยอดหลักต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างความคิดรวบยอดเหล่านั้นมากขึ้น จากนั้น Concept Mapping ช่วยให้ครูสามารถอธิบายให้นักเรียนได้เห็นภาพตามนั้นได้อย่างชัดเจนด้วย ซึ่งจะทำให้มีโอกาสน้อยที่จะไม่เข้าใจ หรือตีความความคิดรวบยอดสำคัญผิด
2. การใช้ Concept Mapping จะช่วยเสริมความเข้าใจ และการเรียนรู้ให้กับนักเรียน เพราะสามารถเห็นภาพ ความคิดรวบยอดที่สำคัญ ไปพร้อม ๆ กับสรุปความสัมพันธ์ระหว่างความคิดเหล่านั้น
3. การใช้ Concept Mapping ยังเป็นช่วยครูในการตรวจประเมินกระบวนการสอนด้วย โดยจะทราบจากการที่นักเรียนไม่เข้าใจ หรือตีความความคิดรวบยอดสำคัญอันไหนผิดบ้าง
4. สามารถใช้ การทำ Concept Mapping ในการประเมินความสามารถในการเรียนรู้ของนักเรียนได้
ขั้นตอนในการสร้าง Concept Mapping
1. เลือก ให้ความสนใจกับหัวเรื่องก่อน แล้วจึงหา Key Word หรือ วลี ที่เกี่ยวข้อง
2. จัดลำดับความสำคัญ วางตำแหน่งความคิดรวบยอด หรือ Key Word จากสิ่งที่เป็นนามธรรม และทั่วๆ ไป ที่สุด ไว้ด้านบน แล้ววางสิ่งที่ชี้เฉพาะ และชัดเจนมากขึ้นไล่ลงมาเรื่อย ๆ
3. จัดกลุ่ม จัดกลุ่มความคิดรวบยอดที่อยู่ในระดับเดียวกัน และเกี่ยวข้องกันไว้ด้วยกัน
4. เรียบเรียง จัดความคิดรวบยอดในรูปของแผนภูมิแสดงความคิดที่เป็นระบบ
5. เชื่อมโยงและเพิ่มข้อความ เชื่อมโยงความคิดรวบยอดเข้าด้วยกันโดยใช้เส้น และใช้ข้อความในการบรรยายแต่ละเส้นด้วย สรุปแนวการสอนแบบ Concept Mapping ว่ามีประโยชน์มากสำหรับการเรียนการสอนมักจะเป็นรูปแบบที่เรียงลำดับตามความสำคัญ (Hierarchical organization) ที่วางความคิดรวบยอดทั่วไปและกว้างๆ กว่าอันอื่น ไว้ด้านบน แล้วจึงค่อยวางความคิดรวบยอดที่มีความชัดเจนและชี้เฉพาะมากขึ้น เป็นลำดับลงมาที่ด้านล่าง
แหล่งเรียนรู้ (Resource)
ความหมายของแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
กระบวนการแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ประโยชน์ของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ข้อดีของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ข้อจำกัดของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ตัวอย่างรูปแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
กระบวนการแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ประโยชน์ของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ข้อดีของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ข้อจำกัดของการใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ตัวอย่างรูปแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
การจัดการเรียนการสอนโดยใช้แผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping)
ข้อเสนอแนะ ติ ชม ทุก ๆ ด้าน จากการอบรมของ ดร.ชัชญาภา วัฒนธรรม
- ชอบสไตล์การสอนของอาจารย์ อาจารย์จะสอนโดยเน้นการปฏิบัติซึ่งดีกว่าการสอนโดยใช้ทฤษฎี
- รู้สึกว่ามีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นจากเดิมมากเลยค่ะ
- ถ้ามีปัญหา หรือต้องการคำแนะนำ สามารถติดต่ออาจารย์ได้ทุกเวลา
- รู้สึกว่ามีความรู้ทางด้านเทคโนโลยีเพิ่มขึ้นจากเดิมมากเลยค่ะ
- ถ้ามีปัญหา หรือต้องการคำแนะนำ สามารถติดต่ออาจารย์ได้ทุกเวลา
การออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบ WEBQUEST (19 เมษายน 2557) ว่าที่ร้อยตรีหญิงดร.ชัชญาภา วัฒนธรรม
การใช้ Blog ในการเรียนการสอน
ขั้นนำ (Introduction)
Blog เป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่งที่เจ้าของ Blog สามารถนำเสนอสารสนเทศของตนเองลงใน Blog ได้ และผู้อ่านสามารถสามารถแสดงความคิดเห็นตอบกลับมาได้
วันนี้เราจะมี Blog เป็นของตนเอง นำเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ และแสดงความคิดเห็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
ภาระงาน (Task)
1. ให้ท่านสมัครเป็นสมาชิก Blog, ตกแต่ง Blog, และเชิญอาจารย์และเพื่อนๆ ในห้องมาร่วมเป็นสมาชิกกับ Blog ของท่าน
2. ให้ท่านนำเสนอสารสนเทศโดยศึกษาจากแหล่งเรียนรู้หลายๆ แหล่ง สังเคราะห์ข้อมูล และเขียนด้วยสำนวนของตนเองในประเด็นต่อไปนี้
2.1 Blog คืออะไร
2.2 เรามีหลักการเขียน Blog อย่างไรเพื่อพัฒนาการคิดของผู้เขียนและมีประโยชน์ต่อผู้อ่าน
2.3 เราจะประยุกต์ใช้ Blog เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนได้อย่างไร
ให้ท่านระบุแหล่งเรียนรู้ที่ท่านได้เข้าไปศึกษาทุกแหล่ง
กระบวนการเรียน (Learning Process)
1. ให้ท่านศึกษาเรื่อง Blog จากแหล่งเรียนรู้
2. ดำเนินการสมัครเป็นสมาชิก Blog ของ www.blogger.com
3. ตกแต่ง Blog ของท่านให้สวยงาม โดยดำเนินการตกแต่งและปรับเปลี่ยน 4 อย่างคือ
3.1 ชื่อ Site ของท่าน
3.2 คำกล่าวต้อนรับผู้เข้ามาชม Site ของท่าน
3.3 ใส่รูปภาพของท่านหรือรูปภาพอื่นที่แทนตัวท่าน
3.4 เปลี่ยน Theme
4. เชิญ (Invite) เพื่อนๆ ในห้องมาเป็นสมาชิก Blog ของท่านให้มากที่สุด และเชิญ (Invite) อาจารย์โดยใช้อีเมล์คือ chatchayapha@gmail.com (ตรงนี้สำคัญมากไม่เช่นนั้นอาจารย์จะไปตรวจงานของท่านไม่ได้)
5. เปลี่ยน Theme ให้แตกต่างจากเดิม
6. ศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ตามประเด็นที่กำหนดในภาระงานข้อ 2 นำข้อมูลดังกล่าวมาสังเคราะห์ แล้วเขียนสารสนเทศด้วยสำนวนของตนเองเพื่อนำเสนอ
7. ให้อ่านสารสนเทศของเพื่อนสมาชิกอย่างน้อย 3 คน พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นใน Blog ของเพื่อนสมาชิกดังกล่าว
แหล่งเรียนรู้ (Resource)
Blog เป็นเครื่องมือสื่อสารชนิดหนึ่งที่เจ้าของ Blog สามารถนำเสนอสารสนเทศของตนเองลงใน Blog ได้ และผู้อ่านสามารถสามารถแสดงความคิดเห็นตอบกลับมาได้
วันนี้เราจะมี Blog เป็นของตนเอง นำเสนอสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ และแสดงความคิดเห็นเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
ภาระงาน (Task)
1. ให้ท่านสมัครเป็นสมาชิก Blog, ตกแต่ง Blog, และเชิญอาจารย์และเพื่อนๆ ในห้องมาร่วมเป็นสมาชิกกับ Blog ของท่าน
2. ให้ท่านนำเสนอสารสนเทศโดยศึกษาจากแหล่งเรียนรู้หลายๆ แหล่ง สังเคราะห์ข้อมูล และเขียนด้วยสำนวนของตนเองในประเด็นต่อไปนี้
2.1 Blog คืออะไร
2.2 เรามีหลักการเขียน Blog อย่างไรเพื่อพัฒนาการคิดของผู้เขียนและมีประโยชน์ต่อผู้อ่าน
2.3 เราจะประยุกต์ใช้ Blog เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอนได้อย่างไร
ให้ท่านระบุแหล่งเรียนรู้ที่ท่านได้เข้าไปศึกษาทุกแหล่ง
กระบวนการเรียน (Learning Process)
1. ให้ท่านศึกษาเรื่อง Blog จากแหล่งเรียนรู้
2. ดำเนินการสมัครเป็นสมาชิก Blog ของ www.blogger.com
3. ตกแต่ง Blog ของท่านให้สวยงาม โดยดำเนินการตกแต่งและปรับเปลี่ยน 4 อย่างคือ
3.1 ชื่อ Site ของท่าน
3.2 คำกล่าวต้อนรับผู้เข้ามาชม Site ของท่าน
3.3 ใส่รูปภาพของท่านหรือรูปภาพอื่นที่แทนตัวท่าน
3.4 เปลี่ยน Theme
4. เชิญ (Invite) เพื่อนๆ ในห้องมาเป็นสมาชิก Blog ของท่านให้มากที่สุด และเชิญ (Invite) อาจารย์โดยใช้อีเมล์คือ chatchayapha@gmail.com (ตรงนี้สำคัญมากไม่เช่นนั้นอาจารย์จะไปตรวจงานของท่านไม่ได้)
5. เปลี่ยน Theme ให้แตกต่างจากเดิม
6. ศึกษาหาข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ตามประเด็นที่กำหนดในภาระงานข้อ 2 นำข้อมูลดังกล่าวมาสังเคราะห์ แล้วเขียนสารสนเทศด้วยสำนวนของตนเองเพื่อนำเสนอ
7. ให้อ่านสารสนเทศของเพื่อนสมาชิกอย่างน้อย 3 คน พร้อมทั้งแสดงความคิดเห็นใน Blog ของเพื่อนสมาชิกดังกล่าว
แหล่งเรียนรู้ (Resource)
วิธีการทำบล็อก วิธีการสร้างบล็อก การเขียน blogger
คุณภาพสูง
|
คุณภาพปานกลาง
|
คุณภาพต่ำ
| |
การตกแต่ง
|
ปรับเปลี่ยนครบทั้ง 4 อย่าง
|
ปรับเปลี่ยน 3 อย่าง
|
ปรับเปลี่ยนน้อยกว่า 3 อย่าง
|
สมาชิก Blog
|
มีสมาชิกจำนวนตั้งแต่ 50%
ขึ้นไป
|
มีจำนวนสมาชิกระหว่าง 30-49% ขึ้นไป
|
มีสมาชิกน้อยกว่า 30%
|
การนำเสนอสารสนเทศ
|
ถูกต้องตรงประเด็น ค้นคว้า
ข้อมูลตั้งแต่ 3 แหล่งขึ้นไป มีการสังเคราะห์ข้อมูล และเขียนด้วยสำนวนของตนเอง |
ถูกต้องตรงประเด็น ค้นคว้า
ข้อมูลน้อยกว่า 3 แหล่ง มีการสังเคราะห์ข้อมูล และเขียน ด้วยสำนวนของตนเอง |
คัดลอกข้อความจากแหล่งเรียนรู้อื่น
|
สรุป (Conclusion)
จากการที่ท่านได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ Blog ท่านคงจะพบว่าเราสามารถใช้ Blog เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ช่วยประหยัดเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาทุกสถานที่
จากการที่ท่านได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับ Blog ท่านคงจะพบว่าเราสามารถใช้ Blog เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี ช่วยประหยัดเวลาในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาทุกสถานที่
ใบงานที่ 2 ออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบเว็บเควสท์
ให้ทุกคนออกแบบบทเรียนออนไลน์แบบเว็บเควสท์ คนละ 1 เรื่อง ตามขั้นตอนที่ระบุ
1. ขั้นนำ (Introduction)
เป็นส่วนที่กำหนดขั้นตอนและให้ความรู้พื้นฐาน
2. ภาระงาน (Task)
เป็นส่วนที่กำหนดว่าให้ผู้เรียนทำอะไร
3. กระบวนการเรียน (Learning Process)
เป็นส่วนที่กำหนดให้ผู้เรียนกระทำตามขั้นตอนที่กำหนดเพื่อเข้าสู่วัตถุประสงค์ของงานหนึ่งๆ ที่มีคำอธิบายเป็นขั้นตอนตามลำดับ
4. แหล่งเรียนรู้ (Resource)
เป็นส่วนที่ช่วยให้ผู้เรียนทำงานที่กำหนดสำเร็จสมบูรณ์ ซึ่งแหล่งข้อมูลส่วนใหญ่อยู่ในเอกสารเดียวกัน อาจหมายถึงเอกสารบนเว็บต่างๆ หรือ URL ที่เกี่ยวข้อง e-Mail ของผู้ชำนาญการในเรื่องนั้นๆ ฐานข้อมูลที่สามารถเข้าสืบค้นได้บนเว็บ
5. ประเมินผล (Evaluation)
เป็นส่วนที่กำหนดขึ้นเพื่อประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ (Scoring Rubric)
6. สรุป (Conclusion)
เป็นส่วนที่ทำให้ผู้เรียนรู้ว่าได้รับรู้อะไร และสามารถช่วยทำให้ผู้เรียนขยายผลการเรียนรู้ของตนเองออกไป
การเตรียมสารละลายกรด เบส
ขั้นนำ (Introduction)
การเตรียมสารละลาย หมายถึง การเตรียมสารละลายโดยนำตัวถูกละลายมาเติมตัวทำละลายให้ได้ปริมาตรและความเข้มข้นตามต้องการ และในการเตรียมต้องทราบ ความเข้มข้นและปริมาตรของสารละลาย
การเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นที่ถูกต้อง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ หากเตรียมความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานคลาดเคลื่อนจากที่ระบุ ผลการวัดค่าของตัวอย่างย่อมคลาดเคลื่อน ดังนั้นการเตรียมสารละลายมาตรฐาน จึงจำเป็นต้องมีวิธีที่ชัดเจน ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
ภาระงาน (Task)
ภาระงาน (Task)
1. ให้นักเรียนศึกษาเรื่องกรด และเบส (ความหมาย ประโยชน์ ข้อดี ข้อเสีย) พร้อมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลายว่ามีอะไรบ้าง แต่ละชนิดมีลักษณะการใช้งานอย่างไร โดยจัดทำรายงานเป็นรูปเล่ม (งานเดี่ยว) ส่งภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2557
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ทำการเตรียมสารละลายกรด และเบส โดยกลุ่มที่ 1-4 เตรียมสารละลายกรด กลุ่มที่ 5-8 เตรียมสารละลายเบส โดยให้แต่ละกลุ่มสรปผลการทดลองที่ได้ พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 5 นาที
กระบวนการเรียน (Learning Process)
1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเรื่องกรด เบส จากแหล่งเรียนรู้
2. จัดทำรายงานรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
2.1 ความหมายของกรด เบส
2.2 ประโยชน์ของกรด เบส มีอะไรบ้าง สามารถใช้ประโยชน์ในด้านใดได้บ้าง
2.3 อธิบายถึงดีข้อ ข้อเสีย ของกรด เบส
2.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลายมีอะไรบ้าง ลักษณะการใช้งานเป็นอย่างไร
กำหนดส่งภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2557
3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน โดยกลุ่มที่ 1-4 ทำการเตรียมสารละลายกรด และกลุ่มที่ 5-8 เตรียมสารละลายเบส
4. ศึกษาขั้นตอนการเตรียมสารละลายว่ามีขั้นตอนอย่างไรในการทดลอง
5. เตรียมอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทดลอง
6. ทำลองทดลองตาม ไดเรคชั่น แลป
7. เมื่อทำการทดลองเรียบร้อยให้แต่ละกลุ่มบันทึกผลการทดลองลงในกระดาษใบงาน
8. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลอง โดยใช้เวลาในการนำเสนอกลุ่มละประมาณ 5 นาที
แหล่งเรียนรู้ (Resource
กรด เบส
ประโยชน์ของสารละลายกรด เบส
ข้อดี ข้อเสีย ของกรด เบส
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลาย
ขั้นตอนการเตรียมสารละลาย
ประเมินผล (Evaluation)
เกณฑ์การประเมินรูปเล่มรายงาน
วิชา............................รหัสวิชา................ระดับชั้น.................ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา..............
กระบวนการเรียน (Learning Process)
1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเรื่องกรด เบส จากแหล่งเรียนรู้
2. จัดทำรายงานรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
2.1 ความหมายของกรด เบส
2.2 ประโยชน์ของกรด เบส มีอะไรบ้าง สามารถใช้ประโยชน์ในด้านใดได้บ้าง
2.3 อธิบายถึงดีข้อ ข้อเสีย ของกรด เบส
2.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลายมีอะไรบ้าง ลักษณะการใช้งานเป็นอย่างไร
กำหนดส่งภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2557
3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน โดยกลุ่มที่ 1-4 ทำการเตรียมสารละลายกรด และกลุ่มที่ 5-8 เตรียมสารละลายเบส
4. ศึกษาขั้นตอนการเตรียมสารละลายว่ามีขั้นตอนอย่างไรในการทดลอง
5. เตรียมอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทดลอง
6. ทำลองทดลองตาม ไดเรคชั่น แลป
7. เมื่อทำการทดลองเรียบร้อยให้แต่ละกลุ่มบันทึกผลการทดลองลงในกระดาษใบงาน
8. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลอง โดยใช้เวลาในการนำเสนอกลุ่มละประมาณ 5 นาที
แหล่งเรียนรู้ (Resource
กรด เบส
ประโยชน์ของสารละลายกรด เบส
ข้อดี ข้อเสีย ของกรด เบส
อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลาย
ขั้นตอนการเตรียมสารละลาย
ประเมินผล (Evaluation)
เกณฑ์การประเมินรูปเล่มรายงาน
วิชา............................รหัสวิชา................ระดับชั้น.................ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา..............
ที่
|
หัวข้อการประเมิน
|
ผลการประเมิน
|
รวม (20 คะแนน)
| ||||
5
|
4
|
3
|
2
|
1
| |||
1
|
รูปแบบรายงาน
| ||||||
2
|
ภาษา
| ||||||
3
|
เนื้อหา
| ||||||
4
|
เวลา
| ||||||
รวม
|
ระดับคุณภาพ
คะแนน 16-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 11-15 หมายถึง ดี
คะแนน 6-10 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1-5 หมายถึง ปรับปรุง
รายละเอียดการให้คะแนนรูปเล่มรายงาน
ประเด็นการประเมิน
|
เกณฑ์การให้คะแนน
| ||||
5
|
4
|
3
|
2
|
1
| |
1. รูปแบบรายงาน
|
- รูปแบบรายงานถูกต้องตามที่กำหนด
- รูปแบบแปลกใหม่ น่าสนใจ
- มีขนาดเหมาะสม
- รูปภาพมีสีสันสวยงาม
- รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
- รูปแบบแปลกใหม่ น่าสนใจ
- มีขนาดเหมาะสม
- รูปภาพมีสีสันสวยงาม
- รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
- มีขนาดเหมาะสม
- รูปภาพมีสีสันสวยงาม
- รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
- รูปภาพมีสีสันสวยงาม
- รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
- รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
2. ภาษา
|
- มีการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
- ประโยคสอดคล้องกับเนื้อหา
- สะกดคำถูกต้อง
- มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
- มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
- ประโยคสอดคล้องกับเนื้อหา
- สะกดคำถูกต้อง
- มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
- มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
- สะกดคำถูกต้อง
- มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
- มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
- มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
- มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
- มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
3. เนื้อหา
|
- เนื้อหาถูกต้อง
- เนื้อหาตรงตามหัวข้อเรื่อง
- เนื้อหาเป็นไปตามที่กำหนด
- รายละเอียดครอบคลุม
- เนื้อหาสอดคล้อง
|
- เนื้อหาตรงตามหัวข้อเรื่อง
- เนื้อหาเป็นไปตามที่กำหนด
- รายละเอียดครอบคลุม
- เนื้อหาสอดคล้อง
|
- เนื้อหาเป็นไปตามที่กำหนด
- รายละเอียดครอบคลุม
- เนื้อหาสอดคล้อง
|
- รายละเอียดครอบคลุม
- เนื้อหาสอดคล้อง
|
- เนื้อหาสอดคล้อง
|
4. เวลา
|
ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่กำหนด
|
ส่งชิ้นงานช้ากว่ากำหนด 1 วัน
|
ส่งชิ้นงานช้ากว่ากำหนด 2 วัน
|
ส่งชิ้นงานช้ากว่ากำหนด 3 วัน
|
ส่งชิ้นงานช้าเกินกว่ากำหนด 3 วัน ขึ้นไป
|
แบบประเมินผลการทำงานเป็นกลุ่ม
วิชา................................รหัสวิชา................ระดับชั้น.................ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา..............
วิชา................................รหัสวิชา................ระดับชั้น.................ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา..............
ที่
|
หัวข้อการประเมิน
|
ผลการประเมิน
|
รวม (20 คะแนน)
| |||
4
|
3
|
2
|
1
| |||
1
|
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
| |||||
2
|
ขั้นตอนการทำงาน
| |||||
3
|
เวลา
| |||||
4
|
ความร่วมมือในการทำงาน
| |||||
5
|
การนำเสนอ
| |||||
รวม
|
ระดับคุณภาพ
คะแนน 16-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 11-15 หมายถึง ดี
คะแนน 6-10 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1-5 หมายถึง ปรับปรุง
รายละเอียดการให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม
ประเด็นการประเมิน
|
เกณฑ์การให้คะแนน
| |||
4
|
3
|
2
|
1
| |
1. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
|
ทุกคนมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
|
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 1 คน
|
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 2 คน
|
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 2 คนขึ้นไป
|
2. ขั้นตอนการทำงาน
|
- คัดเลือกและเตรียมข้อมูลได้เหมาะสม
- มีการวางแผนการทำงาน
- มีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์
- มีการปฏิบัติตามแผนและพัฒนางาน
|
ขาด 1 ขั้นตอนหรือไม่ชัดเจน
|
ขาด 2 ขั้นตอนหรือไม่ชัดเจน
|
ขาดมากกว่า 2 ขั้นตอนขึ้นไป
|
3. เวลา
|
เสร็จก่อนกำหนดและงานมีคุณภาพ
|
เสร็จงานตามกำหนดและงานมีคุณภาพ
|
เสร็จไม่ทันกำหนดและงานมีคุณภาพ
|
เสร็จไม่ทันกำหนดและงานไม่มีคุณภาพ
|
4. ความร่วมมือในการทำงาน
|
ทุกคนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่
|
80% ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
|
60% ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
|
40% ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
|
5. การนำเสนอ
|
- มีบุคลิกลักษณะที่ดี
- ลักษณะของการนำเสนอเป็นขั้นตอน
- พูดชัดถ้อยชัดคำ
- สามารถตอบข้อซักถามได้
|
- ลักษณะของการนำเสนอเป็นขั้นตอน
- พูดชัดถ้อยชัดคำ
- สามารถตอบข้อซักถามได้
|
- พูดชัดถ้อยชัดคำ
- สามารถตอบข้อซักถามได้
|
- สามารถตอบข้อซักถามได้
|
สรุป (Conclusion)
จากการที่ได้ให้นักเรียนทำการทดลองการเตรียมสารละลายกรด เบส พบว่า นักเรียนสามารถค้นหาข้อมูล วิธีหรือขั้นตอนในการเตรียมสาร มีการเรียนรู้การทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่ม ได้แลกเปลี่ยนทัศนะคติ สามารถเรียนรู้ขั้นตอนการเตรียมสารละลายได้ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนด้านสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)