การเตรียมสารละลายกรด เบส
ขั้นนำ (Introduction)
ขั้นนำ (Introduction)
ผู้เรียบเรียง : จิตตรัตน์ เย็นสุข
การเตรียมสารละลาย หมายถึง การเตรียมสารละลายโดยนำตัวถูกละลายมาเติมตัวทำละลายให้ได้ปริมาตรและความเข้มข้นตามต้องการ และในการเตรียมต้องทราบ ความเข้มข้นและปริมาตรของสารละลาย
การเตรียมสารละลายให้มีความเข้มข้นที่ถูกต้อง เป็นสิ่งสำคัญสำหรับนักวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ หากเตรียมความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐานคลาดเคลื่อนจากที่ระบุ ผลการวัดค่าของตัวอย่างย่อมคลาดเคลื่อน ดังนั้นการเตรียมสารละลายมาตรฐาน จึงจำเป็นต้องมีวิธีที่ชัดเจน ถูกต้อง เป็นที่ยอมรับในระดับสากล
1. ให้นักเรียนศึกษาเรื่องกรด และเบส (ความหมาย ประโยชน์ ข้อดี ข้อเสีย) พร้อมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลายว่ามีอะไรบ้าง แต่ละชนิดมีลักษณะการใช้งานอย่างไร โดยจัดทำรายงานเป็นรูปเล่ม (งานเดี่ยว) ส่งภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2557
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน ทำการเตรียมสารละลายกรด และเบส โดยกลุ่มที่ 1-4 เตรียมสารละลายกรด กลุ่มที่ 5-8 เตรียมสารละลายเบส โดยให้แต่ละกลุ่มสรปผลการทดลองที่ได้ พร้อมทั้งนำเสนอหน้าชั้นเรียน กลุ่มละ 5 นาที
กระบวนการเรียน (Learning Process)
1. ให้นักเรียนศึกษาข้อมูลเรื่องกรด เบส จากแหล่งเรียนรู้
2. จัดทำรายงานรูปเล่ม โดยมีเนื้อหาดังต่อไปนี้
2.1 ความหมายของกรด เบส2.2 ประโยชน์ของกรด เบส มีอะไรบ้าง สามารถใช้ประโยชน์ในด้านใดได้บ้าง
2.3 อธิบายถึงดีข้อ ข้อเสีย ของกรด เบส
2.4 อุปกรณ์ที่ใช้ในการเตรียมสารละลายมีอะไรบ้าง ลักษณะการใช้งานเป็นอย่างไร
กำหนดส่งภายในวันที่ 20 พฤษภาคม 2557
3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 8 กลุ่ม กลุ่มละ 3 คน โดยกลุ่มที่ 1-4 ทำการเตรียมสารละลายกรด และกลุ่มที่ 5-8 เตรียมสารละลายเบส
4. ศึกษาขั้นตอนการเตรียมสารละลายว่ามีขั้นตอนอย่างไรในการทดลอง5. เตรียมอุปกรณ์ที่จะใช้ในการทดลอง
6. ทำลองทดลองตาม ไดเรคชั่น แลป
7. เมื่อทำการทดลองเรียบร้อยให้แต่ละกลุ่มบันทึกผลการทดลองลงในกระดาษใบงาน
8. ให้แต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำเสนอผลการทดลอง โดยใช้เวลาในการนำเสนอกลุ่มละประมาณ 5 นาที
แหล่งเรียนรู้ (Resource
ประเมินผล (Evaluation)
เกณฑ์การประเมินรูปเล่มรายงาน
เกณฑ์การประเมินรูปเล่มรายงาน
วิชา............................รหัสวิชา................ระดับชั้น.................ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา..............
ที่
|
หัวข้อการประเมิน
|
ผลการประเมิน
|
รวม
(20 คะแนน)
| ||||
5
|
4
|
3
|
2
|
1
|
| ||
1
|
รูปแบบรายงาน
|
|
|
|
|
|
|
2
|
ภาษา
|
|
|
|
|
|
|
3
|
เนื้อหา
|
|
|
|
|
|
|
4
|
เวลา
|
|
|
|
|
|
|
รวม
|
|
|
|
|
|
|
ระดับคุณภาพ
คะแนน 16-20 หมายถึง
ดีมาก
คะแนน 11-15 หมายถึง
ดี
คะแนน 6-10 หมายถึง
พอใช้
คะแนน 1-5 หมายถึง
ปรับปรุง
รายละเอียดการให้คะแนนรูปเล่มรายงาน
ประเด็นการประเมิน
|
เกณฑ์การให้คะแนน
| ||||
5
|
4
|
3
|
2
|
1
| |
1.
รูปแบบรายงาน
|
-
รูปแบบรายงานถูกต้องตามที่กำหนด
-
รูปแบบแปลกใหม่ น่าสนใจ
-
มีขนาดเหมาะสม
-
รูปภาพมีสีสันสวยงาม
-
รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
-
รูปแบบแปลกใหม่ น่าสนใจ
-
มีขนาดเหมาะสม
-
รูปภาพมีสีสันสวยงาม
-
รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
-
มีขนาดเหมาะสม
-
รูปภาพมีสีสันสวยงาม
-
รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
-
รูปภาพมีสีสันสวยงาม
-
รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
-
รูปภาพสัมพันธ์กับเนื้อหา
|
2.
ภาษา
|
-
มีการใช้ภาษาอย่างถูกต้อง
-
ประโยคสอดคล้องกับเนื้อหา
-
สะกดคำถูกต้อง
-
มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
-
มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
-
ประโยคสอดคล้องกับเนื้อหา
-
สะกดคำถูกต้อง
-
มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
-
มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
-
สะกดคำถูกต้อง
-
มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
-
มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
-
มีการเว้นวรรคโดยไม่ฉีกคำ
-
มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
-
มีการใช้ภาษาอย่างสร้างสรรค์
|
3.
เนื้อหา
|
-
เนื้อหาถูกต้อง
-
เนื้อหาตรงตามหัวข้อเรื่อง
-
เนื้อหาเป็นไปตามที่กำหนด
-
รายละเอียดครอบคลุม
-
เนื้อหาสอดคล้อง
|
-
เนื้อหาตรงตามหัวข้อเรื่อง
-
เนื้อหาเป็นไปตามที่กำหนด
-
รายละเอียดครอบคลุม
-
เนื้อหาสอดคล้อง
|
-
เนื้อหาเป็นไปตามที่กำหนด
-
รายละเอียดครอบคลุม
-
เนื้อหาสอดคล้อง
|
-
รายละเอียดครอบคลุม
-
เนื้อหาสอดคล้อง
|
-
เนื้อหาสอดคล้อง
|
4.
เวลา
|
ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่กำหนด
|
ส่งชิ้นงานช้ากว่ากำหนด
1 วัน
|
ส่งชิ้นงานช้ากว่ากำหนด
2 วัน
|
ส่งชิ้นงานช้ากว่ากำหนด
3 วัน
|
ส่งชิ้นงานช้าเกินกว่ากำหนด
3 วัน ขึ้นไป
|
แบบประเมินผลการทำงานเป็นกลุ่ม
วิชา................................รหัสวิชา................ระดับชั้น.................ภาคเรียนที่.........ปีการศึกษา..............
ที่
หัวข้อการประเมิน
ผลการประเมิน
รวม
(20 คะแนน)
4
3
2
1
1
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
2
ขั้นตอนการทำงาน
3
เวลา
4
ความร่วมมือในการทำงาน
5
การนำเสนอ
รวม
ที่
หัวข้อการประเมิน
ผลการประเมิน
รวม
(20 คะแนน)
4
3
2
1
1
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
2
ขั้นตอนการทำงาน
3
เวลา
4
ความร่วมมือในการทำงาน
5
การนำเสนอ
รวม
ระดับคุณภาพ
คะแนน 16-20 หมายถึง
ดีมาก
คะแนน 11-15 หมายถึง
ดี
คะแนน 6-10 หมายถึง
พอใช้
คะแนน 1-5 หมายถึง
ปรับปรุง
รายละเอียดการให้คะแนนการทำงานเป็นกลุ่ม
ประเด็นการประเมิน
|
เกณฑ์การให้คะแนน
| |||
4
|
3
|
2
|
1
| |
1.
ความรับผิดชอบต่อหน้าที่
|
ทุกคนมีหน้าที่และความรับผิดชอบต่อหน้าที่ของตนเอง
|
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 1 คน
|
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 2 คน
|
มีผู้มีหน้าที่แต่ไม่รับผิดชอบ 2 คนขึ้นไป
|
2.
ขั้นตอนการทำงาน
|
-
คัดเลือกและเตรียมข้อมูลได้เหมาะสม
-
มีการวางแผนการทำงาน
-
มีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์
-
มีการปฏิบัติตามแผนและพัฒนางาน
|
ขาด 1
ขั้นตอนหรือไม่ชัดเจน
|
ขาด 2
ขั้นตอนหรือไม่ชัดเจน
|
ขาดมากกว่า 2
ขั้นตอนขึ้นไป
|
3.
เวลา
|
เสร็จก่อนกำหนดและงานมีคุณภาพ
|
เสร็จงานตามกำหนดและงานมีคุณภาพ
|
เสร็จไม่ทันกำหนดและงานมีคุณภาพ
|
เสร็จไม่ทันกำหนดและงานไม่มีคุณภาพ
|
4.
ความร่วมมือในการทำงาน
|
ทุกคนมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมืออย่างเต็มที่
|
80% ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
|
60% ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
|
40% ของกลุ่มมีส่วนร่วมและให้ความร่วมมือ
|
5.
การนำเสนอ
|
-
มีบุคลิกลักษณะที่ดี
-
ลักษณะของการนำเสนอเป็นขั้นตอน
-
พูดชัดถ้อยชัดคำ
|
-
ลักษณะของการนำเสนอเป็นขั้นตอน
-
พูดชัดถ้อยชัดคำ
-
สามารถตอบข้อซักถามได้
|
-
พูดชัดถ้อยชัดคำ
-
สามารถตอบข้อซักถามได้
|
-
สามารถตอบข้อซักถามได้
|
จากการที่ได้ให้นักเรียนทำการทดลองการเตรียมสารละลายกรด เบส พบว่า นักเรียนสามารถค้นหาข้อมูล วิธีหรือขั้นตอนในการเตรียมสาร มีการเรียนรู้การทำกิจกรรมร่วมกันในกลุ่ม ได้แลกเปลี่ยนทัศนะคติ สามารถเรียนรู้ขั้นตอนการเตรียมสารละลายได้ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานในการเรียนด้านสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับที่สูงขึ้นต่อไป
อ้างอิง :
กรดเบส. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://nakhamwit.ac.th/pingpong_web/Acid&Base.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
สารละลายกรดและสารละลายเบส. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/acid-base/C2_3.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
ประวีณา โนวิชัย. ประโยชน์ของกรดและเบส. (ออนไลน). เข้าถึงได้จาก : http://www.gotoknow.org/posts/462535. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
มารู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีกันเถอะ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.school.net.th/library/snet5/exper.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
การเตรียมสารละลาย. (ออนไลน). เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/nureman01032536/hnwy-thi2-sarlalay/2-3-karte-ri-ym-sarlalay. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
สารละลายกรดและสารละลายเบส. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.il.mahidol.ac.th/e-media/acid-base/C2_3.htm. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
ประวีณา โนวิชัย. ประโยชน์ของกรดและเบส. (ออนไลน). เข้าถึงได้จาก : http://www.gotoknow.org/posts/462535. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
มารู้จักอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการเคมีกันเถอะ. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.school.net.th/library/snet5/exper.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
การเตรียมสารละลาย. (ออนไลน). เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/nureman01032536/hnwy-thi2-sarlalay/2-3-karte-ri-ym-sarlalay. (วันที่ค้นข้อมูล : 18 เมษายน 2557).
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น